เมนูหลัก
หน้าหลัก
ข้อมูลครุภัณฑ์หน่วยงาน
ข้อมูลอาคารและสิ่งก่อสร้าง
ข้อมูลผลงานประเภทต่างๆ
ปฏิทินการแจ้งซ่อมครุภัณฑ์
ปฏิทินการขอใช้รถยนต์ราชการ
แผนภูมิแสดงข้อมูลครุภัณฑ์
บันทึกข้อมูลโน๊ตบุค
เข้าระบบ
   
 
จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชม
 
counter
   
หน้าหลัก » ข้อมูลฝ่ายวิชาการ » รายละเอียดแผนการสอน  
 
ชื่อหลักสูตร
รหัสวิชา พว.๑๒๐๘   ชื่อวิชา พยาธิสรีรวิทยา   หน่วยกิต 3(3-0-6)
ปีการศึกษา ภาคการศึกษา :
วัน/เดือน/ปีที่สอน 2553-01-01   จำนวนชั้วโมงรวม 45 ชั่วโมง
จำนวนนักศึกษา 90 คน
วัตถุประสงค์ หลังเรียนจบวิชานี้แล้ว นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายสาเหตุและกลไกที่ทำให้เซลล์บาดเจ็บได้
2. อธิบายกลไกการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างและการทำงานของเซลล์เนื้อเยื่อและอวัยวะที่เกิดพยาธิ สภาพได้
3. วิเคราะห์กลไก การปรับตัวของเซลล์และอวัยวะของระบบต่างๆ เมื่อเกิดโรคได้
4. วิเคราะห์อาการและอาการแสดงที่เกิดจากพยาธิสภาพของระบบต่างๆ ได้
5. เชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและการรักษาพยาบาลได้
แนวคิดหลัก ศึกษาสาเหตุ กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหน้าที่ของเซลล์ และอวัยวะในระบบต่างๆ กลไกการปรับตัว ปฏิกิริยาตอบโต้ การปรับตัวของร่างกายเมื่อเกิดพยาธิสภาพ เมื่อเกิดพยาธิสภาพโดยกระบวนการศึกษา และสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง วิเคราะห์กรณีตัวอย่างสรุปเป็นผังความคิดรวบยอด แสวงหาความรู้โดยใช้เทคโนโลยี รู้จักการใช้ภาษาอังกฤษในการค้นคว้า และมีการคิดอย่างเป็นระบบ
เรื่องที่สอน บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพยาธิวิทยา
1.1 การศึกษาทางพยาธิวิทยา
1.2 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการสูญเสียหน้าที่
บทที่ 2 การบาดเจ็บและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์
2.1 การบาดเจ็บของเซลล์
2.2 การปรับตัวของเซลล์และการสะสมภายในเซลล์
2.2.1 การปรับตัวของเซลล์
2.2.2 การสะสมของสารภายในเซลล์
บทที่ 3 พยาธิสภาพต่อร่างกายทั่วไป (General pathology)
3.1 การอักเสบและการซ่อมแซม (Inflammation and healing)
3.2 การติดเชื้อ (Infection)
3.3 ความผิดปกติทางระบบภูมิคุ้มกัน(Immune system)
3.4 เนื้องอก (Neoplasm)
3.5 ความผิดปกติทางพันธุกรรม
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำและการไหลเวียนเลือด
6.1 ภาวะบวมน้ำ (Edema) และภาวะขาดน้ำ (Dehydration)
6.2 ภาวะเลือดคั่ง(Congestion) และภาวะมีเลือดออก (Hemorrhage)
6.3 ภาวะช็อค (Shock)
6.4 ภาวการณ์อุดตันในหลอดเลือด (Thrombosis) และลิ่มหลุดอุด (Embolism)
6.5 ภาวะการขาดเลือดชั่วคราว (Ischemia) และ ภาวการณ์ขาดเลือดถาวร (Infarction)
วิธีการสอน
บรรยาย อภิปราย Station/แบ่งกลุ่มย่อย
ทดลอง สาธิตย้อนกลับ ศึกษาด้วยตนเอง
PL PBL CIPPA
กรณีศึกษา Concept Mapping Clinical Practice
Project/โครงงาน Exhibition Semina
ดูงาน Nursing Conference < Nursing Round
Pre-Post Conference Bed Side Tea Ching  
อื่นฯ
คุณลักษณะแผนการสอน
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สร้างเสริมประสบการณ์จริง
ประสบการณ์จริงอิง CBL เพิ่มชั่วโมงการสอนภาคสนาม
มอบงาน/โครงงาน/Case Study การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสืบค้นข้อมูลอิเล็คทรอนิคส์ เพิ่มชั่วโมงฝึกปฏิบัติ
เพิ่มชั่วโมงห้องปฏิบัติการ เพิ่มชั่วโมงจัดสัมนา
อื่น
งานวิจัยในชั้นเรียน ใช้ ไม่ใช้
นำผลงานวิจัยมาใช้ประโยชน์ ในงานวิจัยอื่น ใช้ ไม่ใช้
วิธีการวัดและประเมินผล
แบบทดสอบ คะแนน
ชิ้นงาน/รายงาน คะแนน
แบบประเมินจิตวิสัย คะแนน
รวมคะแนน คะแนน
ดาว์โหลดเอกสารการสอน  
   
 
Copyright©Prabormajchannok Instiute of Halth Workforce Development 2009  All rights reserved : Version 7.6.48